รวยหุ้น รวยลงทุน ปี 6 EP 832 เกาะติดกระแสควบรวมกิจการในธุรกิจธนาคาร

รวยหุ้น รวยลงทุน ปี 6 EP 832 เกาะติดกระแสควบรวมกิจการในธุรกิจธนาคาร

รับชม 3 ครั้ง|
ชอบ
ไม่ชอบ
แชร์
thunkhaochannel
636 วิดีโอ
"ใหญ่เป็นอันดับ 6 ของกลุ่มธนาคารพาณิชย์" "2 ธนาคารควบรวมกัน เกิดประโยชน์ด้านต้นทุน IT + รายได้จากฐานลูกค้าที่กว้างขึ้น " 2019 ปีที่แบงก์ ต้องไม่ได้ทำหน้าที่ แค่ "ฝาก - ถอน" ปีที่รู้ว่า "ทำงานแบงก์" ไม่ได้แปลว่า "มั่นคง" และ ปีที่แบงก์ รู้จักคำว่า "ควบรวม" (ธ.ทหารไทย + ธ.ธนชาต) = ? เกาะติดกระแสควบรวมกิจการในธุรกิจธนาคาร (ตัวหนา) เป็นประเด็นที่หลายคนติดตามมาตลอดกับการควบรวมระหว่า TMB - TCAP ธนาคารทหารไทย + ธนาคารธนชาต ผู้ร่วมลงนาม 5 ราย Caption นาทีที่ 0.59 ส่วนหน้าตาของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของทั้ง ธนาคารทหารไทย และธนาคารธนชาต เป้าหมาย หลังการควบรวม - เปลี่ยนชื่อ แบรนด์ใหม่ หลังรวมกิจการเสร็จปี 2562 (เปลี่ยนชื่อ แบรนด์ใหม่ เป็นตัวหนา) - ING เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ มากกว่า 20% (มากกว่า 20% เป็นตัวหนา) - ฐานลูกค้ารวมกว่า 10 ล้านคน (10 ล้านคน เป็นตัวหนา) - มูลค่าสินทรัพย์รวม 1.9 ล้านล้านบาท (1.9 ล้านล้านบาท เป็นตัวหนา) - ใหญ่เป็นอันดับ 6 ของกลุ่มธนาคารพาณิชย์ (ใหญ่เป็นอันดับ 6 เป็นตัวหนา) - ลูกค้าของธนาคาร TMB และธนชาต ยังใช้บริการ และทำธุรกรรมได้ตามปกติ มุมมองของโบรกเกอร์ ต่อปรากฎการณ์ การควบรวม TMB -TCAP: ความเห็นของ คุณ อุษณีย์ ลิ่วรัตน์ ผช.ผู้อำนวยการ ฝ่ายวิจัย บล.เอเชียพลัส ต่อภาพรวมของธุรกิจธนาคาร มองว่า ทุกแบงก์พยายามหารายได้ดอกเบี้ยให้เพิ่มขึ้น เพราะรายได้ค่าธรรมเนียมที่เคยสร้างรายได้สูง นับจากนี้ อาจจะปรับร่วงล หลังจากมี Technoloy Disruption "แบงก์ ต้องกล้าที่จะปล่อยสินเชื่อมากขึ้น" เม็ดเงินจำนวนนึง ก็จะต้องทุ่มไปกับการลงทุนพัฒนาในระบบ IT เพือตอบโจทย์กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ช่วยในการคดกรองสินเชื่อ, เปิดสู่ฐานลูกค้าใหม่ๆ รายย่อย เป็นปีที่บรรดาแบงก์ ต่างมุ่งขยายฐานลูกค้า ด้วยกลยุทธ์ ร่วมเป็นพันธมิตรกับกลุ่ม E commerce ทั้งหลาย หรือกลุ่ม Startup พร้อมนำเสนอสินเชื่อให้ตรงกลุ่ม เพื่อหวังรายได้จากดอกเบี้ย (สินเชื่อ) กลับมาชดเชยรายได้ค้าธรรมเนียมที่หายไป ใครได้ ใครเสีย การควบรวม TMB -TCAP:(ตัวหนา) ในระยะยาว การควบรวมก็เป็นการขยับอันดับขนาดของสินเชื่อ ให้เข้ามาใกลักับ อันดับที่ 5 ธนาคาร กรุงศรี สิ่งที่ต้องติดตาม คือ กลยุทธ์ การบริษัท ทรัพยากร ทั้ง พนักงาน สาขาที่มี เพราะต้องมีบางสายงาน และบางสาขา ที่ทับซ้อนกัน ว่าจะมีแรงเขย่ามาก น้อย แค่ไหน ส่วนในมุมของการลงทุน - เป็นการสร้าง Economic of scale ให้กับภาพการลงทุนด้าน IT จุดแข็ง ของ TMB คือ กลุ่มลูกค้ารายใหญ่, SMEs และ สินเชื่อบ้าน จุดแข็ง ของ TCAP คือ พอร์ตสินเชื่อรายย่อย และ สินเชื่อรถยนต์ เมื่อนำมารวมกัน ทำให้ ฐานลูกค้ากว้างขึ้น กำไร 1+1 ไม่เท่ากับ 2 เพราะมีค่าใช้จ่ายที่ต้องรับภาระทั้ง คน สาขา งานระบบ ธนาคาร ธนชาติ มี สาขาทั้งหมด 512 สาขา / พนักงาน 10,200 คน / Mobile Banking 1 ล้านราย ธนาคารทหารไทย มี สาขาทั้งหมด 400 สาขา / พนักงงาน 8,000 คน / Mobile Banking 1.5 ล้านราย มองผลบวก จะเริ่มขึ้นในอีก 1-2 ปีข้างหน้า (ไม่ใช่ในระยะเวลาสั้น) กลุ่มแบงก์ ยัง "ลงทุนได้" ในมุมมองของ บล.เอเชียพลัส เพราะยังคงขยายตัวตามภาวะการเติบโตของเศรษฐกิจ และเชื่อว่า หลังเลือกตั้ง รัฐบาลใหม่ ยังคงเดินหน้าลงทุนตาม Roadmap ที่รัฐบาล (ชุดเดิม) วางเอาไว้ ซึ่งจะเป็นผลบวกต่อกลุ่มสินเชื่อรายใหญ่ ขณะที่ Digital Banking จะเป็นแรงขับเคลื่อนในกลุ่มรายย่อย รูปแบบการทำธุรกิจแบงก์ กำลังจะเปลี่ยนไป ........
แสดงเพิ่ม